@article{RJGE, author = {นฤวรรณ มาตชัยเคน and พระครูชัยรัตนากร ดร.}, title = { ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานรศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3}, journal = {วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด}, volume = {4}, number = {2}, year = {2023}, keywords = {}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ไปต่ำสุด ได้แก่ ด้านการเผยแพร่วิสัยทัศน์ รองลงมาคือ ด้านการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดี ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อระดับภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและด้านการสร้างวิสัยทัศน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารควรมีวิสัยทัศน์ชัดเจน สามารถถ่ายทอดให้บุคลากรเข้าใจตรงกับผู้บริหาร สนับสนุนทำให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของวิสัยทัศน์ กระตุ้นให้บุคลากรที่มีหน้าที่รับผิดชอบได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ ควรปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต The objectives of this research were 1) to study the visionary leadership of the school administrators under the Mahasarakham Primary Education Service Area Office 3 2) to compare the visionary leadership of school administrators, and 3) To study recommendations on the visionary leadership of the school administrators. The s ample group consisted of 275 school administrators and teachers. The research tool was a questionnaire. The statistics used were frequency, percentage, mean, and standard deviation t-test and one-way analysis of varience F-test (One-Way ANOVA) The results showed that: 1) The visionary leadership of school administrators overall was at a high level when are rated as high when considering easc aspect order from the highest to the lowest were propagation of vision, followed by implementation of the vision, being a role model. The aspect with the lowest average score is vision creation. 2) The results of comparing the level of the visionary leadership of the school administrators, classified by position, education level, work experience overall and vision formation was statistically significantly different at the .05 level, otherwise there was no difference. 3) Recommendations for the visionary leadership of the school administrators: administrators should have a clear vision, could be conveyed to personnel to understand exactly the same as the administrators, supporting teachers and school personnel to realize the importance of vision, should behave as a role model with virture, ethics, and honesty.}, issn = {2730-4132}, pages = {95--107}, url = {http://202.29.86.169/index.php/RJGE/article/view/2509} }