การปรับกระบวนทัศน์การบริหารราชการส่วนภูมิภาคในทศวรรษหน้า
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการบริการงานปกครองจังหวัดในฐานะราชการบริหารส่วนภูมิภาคภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปในปี พ.ศ.2562 2)เพื่อเสนอแนวทางการปรับโครงสร้างอำนาจตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดินให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นวิธีการศึกษาใช้วิธีการค้นคว้าจากเอกสาร หนังสือ ตำราทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาสรุปข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานจังหวัดในฐานะราชการบริหารส่วนภูมิภาค ได้ดังนี้ 1)เพิ่มประสิทธิภาพโดยปรับปรุงโครงสร้างอำนาจจากรวมศูนย์ไว้ที่ส่วนกลาง ให้กระจายลงสู่ภูมิภาค (จังหวัด) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรชุมชน 2)แก้ไขปรับปรุงโครงสร้างอำนาจการบริหารราชการแผ่นดินให้ชัดเจนระหว่าง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ในเรื่องอำนาจหน้าที่ ภารกิจ องค์กรและพื้นที่ ในการปฏิบัติการ
References
คณะกรรมการปฏิรูป(คปร.). (2554). แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท หจก.บางกอกบล๊อก.
ชูวงค์ ฉายบุตร.(2540). ผู้ว่าราชการจังหวัดและการปกครองจังหวัดในอนาคต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น.
วรเดช จัทรศร. (2547). การปรับปรุงและปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินของไทย. กรุงเทพฯ : หจก.สหายบล็อกการพิมพ์.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2547). ผู้บริหารสูงสุดระดับจังหวัด : ผู้ว่าราชการจังหวัดซีอีโอ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด. กรุงเทพฯ : วี เจ พริ้น.
เวทีภาคีพัฒนาประเทศไทย. (2557). ปฏิรูประบบการปกครองและกระจายอำนาจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สถาบันท้องถิ่นพัฒนา.
สถาบันดำรงราชานุภาพ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (2550). รายงานผลการศึกษาการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อเรื่องการปรับปรุงการบริหารราชการส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ 2550. สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์. (2547). แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารจังหวัดทดลองแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาในคู่มือการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. (2544). รายงานวิจัยสถานภาพและบทบาทของราชการบริหารส่วนภูมิภาคในอนาคต. สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2556). กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง. กรุงเทพฯ : พัฒนวิจัย.