แนวทางการพัฒนาปัจจัยองค์ประกอบความเป็นพลเมืองดี ให้มีผลต่อประชาสังคมแนวใหม่

APPROACHES TO THE DEVELOPMENT OF THE ELEMENTS OF GOOD CITIZENSHIP TO AFFECT THE NEW CIVIL SOCIETY

  • ชัยยศ จินารัตน์ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

Abstract

            การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบแบบจำลองความเป็นพลเมืองดีที่มีผลต่อประชาสังคมแนวใหม่ รวมถึงนำเสนอแนวทางการพัฒนาตัวแปรทั้งสอง โดยใช้แบบสอบถามที่ได้รับการพัฒนาความตรงและความเชื่อมั่น จำนวน 44 ข้อ สำหรับใช้ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและอำนาจเจริญ จำนวน 350 คน วิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบด้วยสถิติ วิเคราะห์องค์ประกอบแบบ Generalized Least Square และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ


             ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยองค์ประกอบแบบจำลองความเป็นพลเมืองดี ประกอบด้วย ความรู้ การเคารพกฎหมาย และทำงานสาธารณะ การมีส่วนร่วมและเคารพความแตกต่าง รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งมีอิทธิพลในการพยากรณ์ร่วมกันต่อประชาสังคมแนวใหม่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 ส่วนการนำไปใช้ประโยชน์นั้น เน้นการพัฒนาความรู้ และความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหลัก

References

จันจิรา สมบัติพูนศิริ. (2557). แนวคิดเรื่องประชาสังคมโลกและการเปลี่ยนผ่านสู่ภาคปฏิบัติ: ประเด็นการแทรกแซงมนุษย์ธรรม และหลักรับผิดชอบในเรื่องปกป้อง. วารสารธรรมศาสตร์. 33(3). 115-134.

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2556). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษา. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2553). สำนึกพลเมือง หัวใจสำคัญของประชาสังคมไทย. วารสารศรีนครินทร์วิโรฒวิจัยและพัฒนา. 2(3). 95-109.

พนิดา ทองเงา ดอร์น สิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุล และสิริวรรณ ศรีพหล. (2561). การพัฒนาโมเดลการวัดคุณลักษณะความยึดมั่นในความเป็นพลเมืองสำหรับเยาวชนไทย. สุทธิปริทัศน์. ฉบับพิเศษ. 39-52.

วรรษกร คำพงพีร์ และเทียมจิตต์ พาณิชย์ผลินไชย. (2560). การพัฒนาตัวชี้วัดความเป็นพลเมืองของนิสิต นักศึกษา ระดับปริญญาตรี. Journal of Community Development Research. 10(4). 175-185.

วัชรินทร์ ชาญศิลป์. (2561). ความเป็นพลเมืองของเยาวชนไทย. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 5(1). 187-209.

สมเด็จพระพุทธโกษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต). (2529). รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับอิสรภาพของสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันปรีดี พนมยงค์.

สมเด็จพระพุทธโกษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต). (2547). รัฐศาสตร์เพื่อชาติ รัฐศาสตร์เพื่อโลก. กรุงเทพฯ : สถาบันปรีดี พนมยงค์.

สุวิชัย หวันแก้ว ฉันทนา บรรพตศิริโชติ หวันแก้ว สุรางรัตน์ จำเนียรผล ปารีดา ปันจอร์ อิมรอน ซาเหมะ และรอฮีมะห์ เหะหมัด. (2560). บทเรียน 12 ปี ประชาสังคมกับกระบวนการสันติภาพ. รายงานพิเศษชายแดนใต้ Sinaran Online.

สุวิดา ธรรมมณีวงศ์. (2544). การเคลื่อนไหวทางสังคม. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 11(1). 32-54.

อัจฉรา อยุทธศิริกุล. (2561). การศึกษาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนนักศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Harris, C. (2010). Active democratic citizenship and service-learning in the post graduate classroom. Journal of Political Science Education. 6. 227-243.

Kuan, H-C.& Lam, W-M. (2013). Norms of good citizenship. The case of Southeast Asia Countries.

Schoeman, S. (2006). A blueprint for democratic citizenship education in South African publics schools: African teacher’s perception of good citizenship. South African Journal of Education. 26(1). 129-142.
Published
2022-03-30
How to Cite
จินารัตน์, ชัยยศ. แนวทางการพัฒนาปัจจัยองค์ประกอบความเป็นพลเมืองดี ให้มีผลต่อประชาสังคมแนวใหม่. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 241-252, mar. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://202.29.86.169/index.php/jbpe/article/view/1917>. Date accessed: 26 nov. 2024.
Section
Research Article