การเลือกรูปแบบวิจัยเชิงผสมผสานวิธีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย

AN INTEGRATED RESEARCH DESIGN SELECTION FOR THAI LANGUAGE TEACHING AND LEARNING DEVELOPMENT

  • รัชนีบูรณ์ เนตรภักดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
  • ปรีดา นวลรักษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • จำเนียร ฉิรินัง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

            บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอรูปแบบวิจัยเชิงผสมผสานวิธีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย เนื่องจากความสลับซับซ้อนของปัญหาในการวิจัยที่ใช้รูปแบบเดิม อาจจะไม่สามารถตอบคำถามงานวิจัยได้อย่างครอบคลุม ครบถ้วนและตรงประเด็นส่งผลให้มีการพัฒนารูปแบบและเทคนิควิธีการวิจัยในหลายรูปแบบซึ่งการใช้ระเบียบวิธีวิจัยเพียงแบบเดียวอาจไม่สามารถตอบปัญหาการวิจัยได้อย่างครบถ้วนการใช้วิธีวิทยาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพร่วมกันในการดำเนินการวิจัยเพื่อช่วยให้หาคำตอบของการวิจัยได้อย่างคลอบคลุมและชัดเจนซึ่งแบบการวิจัยมีหลากหลายแบบให้นักวิจัยเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยทั้งนี้แบบแผนของวิจัยเชิงผสมผสานวิธีนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทยและการพัฒนาการเรียนการสอนได้

References

กันต์ฤทัย คลังพหล. (2563). การวิจัยผสมวิธี. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(1) 235-256.

จินดา ลาโพธิ์ . (2562). การพัฒนารูปแบบการสอนรายวิชาการสอนเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับครูภาษาไทยตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ผสมผสานกลวิธีซินเนคติคส์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
จุไรรัตน ทองคำชื่นวิวัฒน์. (2556). การวิจัยแบบผสมผสาน. วารสารจันทรเกษมสาร. 19(37). 1-9.

ณัฐกิตติ์ นาทา. (2559). การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์และคิดวิเคราะห์ของนักเรียน โดยใช้การเรียนรู้โดยน้นภาระงานและการโค้ช. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปรีดา หนูชู. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อสร้างเสริมการคิดวิเคราะห์และการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. วิทยาลัยครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พัชรินทร์ รอดสิน. (2562).การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ ด้วยกลวิธีเมตาคอกนิชันร่วมกับการโค้ช. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (การสอนภาษาไทย). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ยศกร สิทธิศักดิ์ไพบูลย์. (2561). การศึกษาภาษาผู้ไทยสู่การพัฒนาหลักสูตรเพื่อการสืบสาน และการอนุรักษ์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย : กรณีศึกษาบ้านนางัว. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

รัชนีบูรณ์ เนตรภักดี, ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล. (2564). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการหลักธรรมทางพุทธศาสนาเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมของเยาวชนกลุ่มเปราะบางในจังหวัดขอนแก่น. Youth Journal of Educational. 8(1). 546-556.

สกุลการ สังข์ทอง (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ MECCA เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (การสอนภาษาไทย).บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Creswel, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and conducting Mixed Methods Research. 3nd ed. Sage, Thousand Oaks : Los Angeles.

Edmonds, W. A., & Kennedy, T. D. (2013). An Applied Reference Guide to Research Designs. Los Angeles : Sage.

Johnson, R.B. and Onwuegbuzie, A.J. (2004) Mixed Methods Research A Research Paradigm Whose Time Has Come. Educational Researcher. 33. 14-26.
Published
2022-11-27
How to Cite
เนตรภักดี, รัชนีบูรณ์ et al. การเลือกรูปแบบวิจัยเชิงผสมผสานวิธีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 717-731, nov. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://202.29.86.169/index.php/jbpe/article/view/2068>. Date accessed: 26 nov. 2024.
Section
Academic Article