ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพนักงานบริการลูกค้า สายธุรกิจเอไอเอส ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

THE FACTORS RELATE TO JOB BURNOUT OF AIS CUSTOMER SERVICE STAFF IN THE NORTHEAST THAILAND

  • ปิยะ บุญอบ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • รังสรรค์ โฉมยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Abstract

           การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพนักงานบริการลูกค้าสายธุรกิจเอไอเอสภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากพนักงาน 166 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล วิเคราะห์โดยแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์ถดถอย


           ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านรับรู้ต่อความสามารถของพนักงานบริการลูกค้าสายธุรกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพนักงานบริการลูกค้าสายธุรกิจเอไอเอส ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับปัจจัยด้านลักษณะงานของพนักงาน ปัจจัยด้านสัมพันธ์ภาพของพนักงาน ปัจจัยด้านการรับรู้ต่อระบบบริหารของพนักงาน และปัจจัยด้านการรับรู้ต่อความสำเร็จของพนักงานไม่ส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพนักงานบริการลูกค้าสายธุรกิจเอไอเอสภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

References

ธรรมนาถ เจริญบุญ. (2554). แบบประเมินและแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย : ข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้. ธรรมศาสตร์เวชสาร. 11(4). 667-676.

วัลลภ วิชาญเจริญสุข. (2557). ภาวะหมดไฟในการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้แทนยาบริษัทยาข้ามชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพ. คณะแพทย์ศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สสิพรรธน์ นิลสงวน เดชะ. (2558). ภาวะเหนื่อยหน่ายในการทำงานและกลวิธีในการเผชิญปัญหาของพนักงานองค์การเภสัชกรรม. Chulalongkorn Medical Journal. 60(5). 545-560.

อรสา ใจจินา. (2556). อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล และการสนับสนุนทางสังคมต่อความเหนื่อยหน่ายในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวชในพื้นที่ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 3. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์. 6(1). 2-8.

Bunce, D., & Sisa, L. (2002). Age differences in perceived workload across a short vigil. Ergonomics. 45(13). 949-960.

Maslach, C. (1978). The client role in staff burn‐out. Journal of social issues. 34(4). 111-124.

Maslach, C., Schaufeli, W.B. and Leiter, M.P. (2001). Job burnout. Annual review of psychology. 52(1). 397-422.

Sakulkoo, S., Hoffart, N. and Cobb, A.K. (2002). Stress in nurses: Stress-related affect and its determinants examined over the nursing day. Annals of Behavioral Medicine. 45(3). 348-356
Published
2022-09-08
How to Cite
บุญอบ, ปิยะ; โฉมยา, รังสรรค์. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานของพนักงานบริการลูกค้า สายธุรกิจเอไอเอส ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 70-80, sep. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://202.29.86.169/index.php/jbpe/article/view/2289>. Date accessed: 26 nov. 2024.