ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา

TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF CHARITABLE SCHOOLS OF BUDDHIST TEMPLES

  • สันทัด สุมนเมธี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • เอกราช โฆษิตพิมานเวช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • สุนทร สายคำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Abstract

บทความวิชาการนี้ผู้เขียนมีความประสงค์นำเสนอองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาจากการสังเคราะห์องค์ประกอบ จากการศึกษาพบว่า มีองค์ประกอบคือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ 2) การสร้างแรงบันดาลใจ 3) การกระตุ้นทางปัญญา 4) การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล  ซึ่งผู้เขียนบทความวิชาการได้สังเคราะห์จากแนวคิดหลักการทฤษฎีของนักการศึกษา นักวิชาการ มาพิจารณาความสำคัญและสอดคล้องกับบริบทของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา ที่เป็นองค์กรที่จัดการศึกษาของวัดในพุทธศาสนา ผู้บริหารโรงเรียนไม่เพียงเป็นแต่ผู้นำที่ได้ความเคารพนับถือ ความร่วมมือจากผู้ใต้บังคับบัญชาเท่านั้น แต่จะเป็นผู้สามารถนำโรงเรียนไปสู่จุดหมายที่ต้องการได้ ทำให้โรงเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะหรือมีพฤติกรรมของความเป็นผู้นำ หรือไม่ใช่เป็นเพียงมีภาวะผู้นำสามารถปฏิบัติงาน เพื่อให้โรงเรียนประสบความสำเร็จ มีความสามารถ ทักษะและกระบวนการที่ผู้นำใช้ในการนำโรงเรียนไปสู่จุดมุ่งหมาย แต่ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง

References

กอบกิจ ธรรมานุชิต. (2558). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในการบริหารงานโรงเรียนกีฬาสังกัดสถาบันการพลศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.

จิราภรณ์ ผันสว่าง. (2562). ผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ Professional Education Leadership. มหาสารคาม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ธุรกิจสัมมา รธนิธย์. (2556). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.

นัฎฐกานต์ ทันที. (2555). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง : ประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์การภาครัฐในยุคปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภรณ์วดี ประเสริฐดี. (2558). การศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2. สุโขทัย : สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2.

วิเชียร วิทยุคม. (2553). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

สิริรักษ์ นักดนตรี. (2560). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการบริหารโรงเรียนสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้อย่างมืออาชีพสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2560). รูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

Bass and Avolio. (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. New York : Sage Publications, Inc.

Bass. (1985). Leadership and Performance Beyond Expectation. New York : The Free Press.

Bass. (1997). Does the transactional leadership Paradigm Transcend Organizational and national Boundaries. WAmerican Psychologist. 52(2). 130-139.

Bums. (1978). Leadership. New York : Har[er and Row.

Burn’s. (2004). Transforming Leadership: A New Pursuit of Happiness. New York : Atlantic Monthly Press.

Leithwood, et al. (1999). Leadership for school restructuring. Education Administration Quarterly. 32(4). 512-538.
Published
2023-01-09
How to Cite
สุมนเมธี, สันทัด; โฆษิตพิมานเวช, เอกราช; สายคำ, สุนทร. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 623-630, jan. 2023. ISSN 2730-2644. Available at: <http://202.29.86.169/index.php/jbpe/article/view/2487>. Date accessed: 23 nov. 2024.