การแก้ปัญหาความแตกแยกในครอบครัวยุคโลกาภิวัตน์

  • อดิศักดิ์ ทุมอนันต์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความแตกแยกในครอบครัวในมิติของการป้องกัน การแก้ไข และการเยียวยา โดยนำเสนอแนวทางเชิงพุทธเกี่ยวกับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในครอบครัวในสังคมหมู่บ้าน โลกเดียวกันในยุคโลกาภิวัตน์นี้ที่ควรยกระดับจิตใจให้มีความเจริญเช่นเดียวกับความเจริญทางวัตถุและเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการศึกษาพบว่าการปฏิบัติตนตามหน้าและความรับผิดชอบตามสภาพในครอบครัวบ่มเพราะความรัก ความเมตตาปรารถนาดี อ่อนโยน และเอื้อประโยชน์กัน รวมถึงการสื่อสารกันด้วยใจที่เปิดกว้าง การศึกษาพื้นฐานทางธรรมชาติของกันและกันโดยเฉพาะในทางเพศเพื่อให้เกิด ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจกันให้เกิดแก่สมาชิกครอบครัวในแต่ละครอบครัวและแผ่ ขยายออกสู่ชุมชนและสังคม ก็จะสามารถพัฒนาให้คนในครอบครัวของหมู่บ้านโลกมีความเป็นอยู่ร่วมกันด้วยความสงบ สันติสุข ปราศจากการใช้กำลังรุนแรงให้เกิดความบอบ ช้ำทางร่างกายและจิตใจของกันและกัน อันเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมแก้ไข “วิกฤติสังคมโลก”ในปัจจุบัน

References

กฤตยา อาชวนิจกุล และคณะ. (2546). ความแตกแยกในครอบครัว. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และมูลนิธิผู้หญิง.

จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระพรหมคุณาภรณ์,(ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11/2. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.อาร์. เพิ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่6,9,10,12,15,19,21,23. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้งให้หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ศิริกัณฑ์ออฟเช็ท.

ตำราพิชัยสงคราม (The Art of War). สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2561. จาก http://www.phongphit. com/index.php?option=com content&taskx

ร่วมต่อต้านการใช้ความรุนแรงกับผู้หญิง (Say No to Violence against Women). สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2561. จาก http://www.novaw.or.th/?p=5

รู้จัก สสส. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2561. จาก http://www.thailhealth.or.th/about/get-to-know

สุนนทิพย์ ใจเหล็ก. ความแตกแยกในครอบครัวกับการกระทำผิดของเด็ก เยาวชน. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2561. จาก http://www.th. wikipedia.org/wiki/

เส้นทางครอบครัวไทยในยุคโลกาภิวัตน์. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2561. จาก http://www. love4home .com/index.php?

หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ. (2552). ความแตกแยกในผู้สูงอายุ ความจริงที่สังคมไทยคาดไม่ถึง. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2561. จาก http://www.thaihealalth.or.th/node/12511

หนังสือพิมพ์ข่าวสด. (2550). วอนสังคมใส่ใจเรื่องผัวๆ เมียๆ. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2561. จาก http:www.icamtalk.com

ความแตกแยกในครอบครัวไทยเมียๆ. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2561. จาก www.m-society.go.th/ document/edoc/edoc470.doc

Ben Thaiaporns Blog. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการพัฒนาตนเอง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรวิทยา และการวัดเมียๆ. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2561. จาก http://www.oknation.net/ blog/philharmonics

Bopitv. (2551). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ การเยียวยาความแตกแยกในครอบครัว. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2561. จาก http://www.openbase.in/th/taxonomy795

John M. Gottman ad Sybil Carrere. (1994). Why Can’t Men and Women Gat Along? : Developmental Roots and Marital Inequities. In Communication and Relational Maintenance. Daniel J. Canary and Laura Stafford. California : Academic Press Inc.

Kevin Browne & Martin Herbert. (1997). Preventing Family Violence. England : John Wiley & sons Ltd.
Published
2019-12-31
How to Cite
ทุมอนันต์, อดิศักดิ์. การแก้ปัญหาความแตกแยกในครอบครัวยุคโลกาภิวัตน์. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 3, n. 2, p. 49-61, dec. 2019. ISSN 2730-2644. Available at: <http://202.29.86.169/index.php/jbpe/article/view/857>. Date accessed: 26 nov. 2024.
Section
Academic Article