การใช้สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการประชาสัมพันธ์ประเพณีบุญสรงกู่ช่วงสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา(โควิด-19) บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
Using Social Media to Publicize the Boon Song Ku Tradition during the Current Pandemic Health Situation, the Spread of Covid-19 Virus at Ban Prang Ku Ma-Ue Subdistrict, Thawat Buri District Roi Et Province
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่อโซเชียลมีเดียเพื่อการประชาสัมพันธ์ประเพณีบุญสรงกู่ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา(โควิด-19) บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสัมภาษณ์ จากการศึกษาพบว่า การใช้สื่อโซเชียลมิเดียส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ถึงสถานที่ท่องเที่ยวโดยการนำสื่อออนไลน์มาใช้เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ประเพณีและสถานที่ท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักผ่านสื่อโซเซียลต่างๆ เช่น facebook instragram และ Website การถ่ายทอดพิธีกรรมประเพณีบุญสรงกู่เป็นการผลิตซ้ำทางทุนวัฒนธรรมตามแนวคิดของปิแอร์ บูดิเยอร์ เพื่อให้ดำรงอยู่ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางวัฒนธรรม ซึ่งมีผลต่อการรับรู้ทางวัฒนธรรม ประเพณี ด้วยการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้เข้าถึงนักท่องเที่ยวที่สนใจรับรู้ข้อมูลข่าวสาร หลังสถานการณ์ไวรัสโคโรนา(โควิด-19) คลี่คลาย เพื่อให้กับนักท่องเที่ยวได้รับรู้ วัฒนธรรมประเพณีและผลิตภัณฑ์ของชุมชน สินค้าหัตถกรรมโดยเฉพาะที่บ้านยางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัธบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
References
ทรงยศ สาโรจน์. (2557). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมกรณีศึกษาชุมชนเรือนแพ ลุ่มน้ำสะแกกรัง. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 18(1). 31-50.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
ปฐม หงส์สุวรรณ. (2560). ประเพณีประดิษฐ์ในชุมชนอีสานลุ่มน้ำโขง. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.
ไพรจิตร สัตนาโค ผู้ให้สัมภาษณ์. 28 มีนาคม 2564. ณ บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
ภคพร หนูเพชร ผู้ให้สัมภาษณ์. 28 มีนาคม 2564. ณ บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
โมฬี ศรีแสนยงค์. (2552). การสร้างบทแสดง แสง สี เสียง ตำนานบุญสรงกู่ บ้านยางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารช่อพะยอม. 20(1). 3-10.
โรงเรียนชุมชนบ้านยางกู่. (2558). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการปรางค์:ประเพณีที่เปลี่ยนแปลงไป. ร้อยเอ็ด : โรงเรียนชุมชนบ้านยางกู่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1.
วรภูริ มูลสิน ผู้ให้สัมภาษณ์. 1 มีนาคม 2564. ณ บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
วรภูริ มูลสิน. (2556). แนวคิดหลังทันสมัย. อุบลราชธานี : ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.
ศุศราภรณ์ แต่งตั้งลำ. (2564). สื่อออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย. วารสารวิชาการ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 5(1). 37-56.
สมชาติ มณีโชติ. (2531). ปรางค์กู่บ้านเขวา “อโรคยาศาล”. มหาสารคาม : ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมวิทยาลัยครูมหาสารคาม.
สยาม กิ่งเมืองเก่า และหอมหวน บัวระภา. (2558). อโรยาศาล : ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อในจังหวัดขอนแก่น. วารสารวิถีสังคมมนุษย์. 3(1). 56-78.
สันติ ทิพนา ราตรี ทิพยา. (2561). เจ้าปู่ ปรางค์กู่ : คติความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณีและพิธีกรรม ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 12(1). 234-242.
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอธวัชบุรี. (2561). บ้านปรางค์กู่ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. ร้อยเอ็ด : สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด.
สุกานดา ธิมา ผู้ให้สัมภาษณ์. 28 มีนาคม 2564. ณ บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
สุภางค์ จันทวานิช. (2552). ทฤษฎีสังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทัยวรรณ เยาวประภาส ผู้ให้สัมภาษณ์. 28 มีนาคม 2564. ณ บ้านปรางกู่ ตำบลมะอึ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
Ana Maria & Jens Kr. Steen Jacobsen. (2014). Motivations for sharing tourism experience through social media. Tourism Management. 43. 46-54.
Koster, Emlyn H. (1996). Science Culture and Cultural Tourism. In Mike Robinson, Nigel Evans and Paul Callaghan, eds. Tourism and Cultural Canang: Tourism and Culture towards. 21. 227-238.
Pierre Bourdieu. (1990). The Logic of Practice. Stanford : Stanford Unviversity Press.